Loading...
►เสียงดังคมชัด
►กำลังส่ง แรงมากขึ้น
►เหมาะกับการใช้งานในสภาพแวดล้อมเย็นจัด ความร้อนสูง เปียกชื้น และ ฝุ่น
►รองรับการใช้งานบลูทูธ
►ถูกออกแบบมาเพื่อให้ง่ายต่อการใช้งาน
►การใช้งานแบตเตอรี่ยาวนาน 16 ชม.ต่อการชาร์ท 1 ครั้ง
►การออกแบบปุ่มกดสำหรับการใช้งานในขณะใส่ถุงมือชนิดหนา
►นวัตกรรมใหม่ จอแสดงผลด้านบน
►รูปทรงจับรูปตัว T บาร์และจอสี
►ถูกออกแบบมาโดยเฉพาะสำหรับผู้ใช้งานที่ทำงานในพื้นที่ที่มีก๊าซอาจเกิดการระเบิดหรือไอระเหยสารเคมีของเหลวไวไฟหรือฝุ่นที่ติดไฟ
Front
BACK
TOP
Product
MTP 8500ex
ความแตกต่างของ Analog และ Digital
อุปกรณ์ที่ฉลาด และดีกว่าเดิมกับ MTP8500ex
ข้อมูลตัวเครื่อง
รูปลักษณ์
เกร็ดความรู้
วิทยุสื่อสาร ทุกคนคงรู้จักกันดี แต่ Trunked Radio หรือระบบวิทยุคมนาคมระบบ ทรั้งค์ เป็นเครือข่ายวิทยุสื่อสาร ที่มีการทำงานคล้ายกับระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่นั่นเอง จะมีสถานีกลาง (System Control) ทำหน้าที่จัดช่องสัญญาณให้มีจำนวนช่องสัญญาณเพียงพอในการรองรับการใช้งานของเครื่องลูกข่ายทั้งหมดในระบบ มีสถานีทวนสัญญาณ (Repeater Station) ทำหน้าที่เชื่อมโครงข่ายให้ครอบคลุมพื้นที่ของเครือข่ายนั้นๆ และเลือกช่องสัญญาณที่ว่างอยู่ให้ลูกข่ายโดยอัตโนมัติ อีกทั้งสามารถเรียกเฉพาะเครื่องลูกข่ายที่ต้องการติดต่อได้ และมีระบบการสื่อสารเฉพาะกลุ่ม (Private Call) โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีระบบการเชื่อมต่อระบบโทรคมนาคมอื่น (PCM Switch) และมี โปรโตคอล MPT 1327 เป็นที่นิยมที่สุดในปัจจุบัน นี่เป็นภาพรวมพอเข้าใจระบบ วิทยุ ทรั้งค์ จะเห็นว่ามันก็คือ เซลลูลาร์ ชนิดหนึ่งนั่นเอง เพียงแต่ว่า “ไม่เสียค่า แอร์ไทม์” Traditional 2/4 Wire - 64Kbit - Microwave links - Digital UHF radio links - T1/E1 - TCP/IP ในยุคต้น ระบบ TRUNKED RADIO และ CONVENTIONAL LAND MOBILE เป็นเทคโนโลยีแบบ อะนาลอก ซึ่งไม่มีความปลอดภัยหรือเป็นส่วนตัวมากนัก อีกทั้งยังเป็นการใช้ความถี่วิทยุที่ค่อนข้างจะสิ้นเปลือง แต่ในปัจจุบันได้มีการพัฒนาระบบเหล่านี้เป็นระบบดิจิทัล ซึ่งนับได้ว่าเป็นระบบที่มีความเป็นส่วนตัว และมีความปลอดภัยของข้อมูลสูง ที่สำคัญเป็นเทคโนโลยีที่สามารถบริหารจัดการการใช้ความถี่วิทยุได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น นอกจากนี้การพัฒนาไปสู่ระบบดิจิทัลยังสามารถรวมเอาคุณสมบัติการสื่อสารทั้งแบบ TRUNKED RADIO และ CONVENTIONAL LAND MOBILE เข้าด้วยกันได้ โดยเรียกว่าระบบ DIGITAL TRUNKED RADIO
วิทยุคมนาคมระบบ ทรั้งค์ ในประเทศไทยใช้สำหรับติดต่อภายในกลุ่มองค์กรใหญ่หรือหน่วยงานราชการ ปัจจุบันได้มีการพัฒนาเทคโนโลยีให้เป็นระบบดิจิตอลแล้ว ก็ได้มีการพัฒนาความสามารถของระบบให้หลากหลายยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นความสามารถที่ลูกข่ายสามารถติดต่อกันเองได้โดยไม่ต้องผ่านการควบคุม และจัดการโดยสถานีแม่ข่าย หรือแม้แต่การเพิ่มความสามารถในการรองรับ-ส่งภาพเคลื่อนไหวแบบ Multi media ได้ รวมถึงการเชื่อมต่อ อินเทอร์เน็ต ได้ ทั้งนี้เทคโนโลยีต่างๆ ได้มีการพัฒนาที่แตกต่างกันไปในทางเทคนิค แต่ยังคงมีเป้าหมายของการพัฒนาที่เป็นไปในแนวทางเดียวกัน นั่นคือระบบโทรคมนาคมที่ตอบสนองความต้องการของมนุษย์ได้มากที่สุด
Trunked Radio
วิทยุสื่อสาร ทุกคนคงรู้จักกันดี แต่ Trunked Radio หรือระบบวิทยุคมนาคมระบบ ทรั้งค์ เป็นเครือข่ายวิทยุสื่อสาร ที่มีการทำงานคล้ายกับระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่นั่นเอง จะมีสถานีกลาง (System Control) ทำหน้าที่จัดช่องสัญญาณให้มีจำนวนช่องสัญญาณเพียงพอในการรองรับการ ใช้งานของเครื่องลูกข่ายทั้งหมดในระบบ มีสถานีทวนสัญญาณ (Repeater Station) ทำหน้าที่เชื่อมโครงข่ายให้ครอบคลุมพื้นที่ของเครือข่ายนั้นๆ และเลือกช่องสัญญาณที่ว่างอยู่ให้ลูกข่ายโดยอัตโนมัติ อีกทั้งสามารถเรียกเฉพาะเครื่องลูกข่ายที่ต้องการติดต่อได้ และมีระบบการสื่อสารเฉพาะกลุ่ม (Private Call) โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีระบบการเชื่อมต่อระบบโทรคมนาคมอื่น (PCM Switch) และมี โปรโตคอล MPT 1327 เป็นที่นิยมที่สุดในปัจจุบัน นี่เป็นภาพรวมพอเข้าใจระบบ วิทยุ ทรั้งค์ จะเห็นว่ามันก็คือ เซลลูลาร์ ชนิดหนึ่งนั่นเอง เพียงแต่ว่า “ไม่เสียค่า แอร์ไทม์” Traditional 2/4 Wire - 64Kbit - Microwave links - Digital UHF radio links - T1/E1 - TCP/IP ในยุคต้น ระบบ TRUNKED RADIO และ CONVENTIONAL LAND MOBILE เป็นเทคโนโลยีแบบ อะนาลอก ซึ่งไม่มีความปลอดภัยหรือเป็นส่วนตัวมากนัก อีกทั้งยังเป็นการใช้ความถี่วิทยุที่ค่อนข้างจะสิ้นเปลือง แต่ในปัจจุบันได้มีการพัฒนาระบบเหล่านี้เป็นระบบดิจิทัล ซึ่งนับได้ว่าเป็นระบบที่มีความเป็นส่วนตัว และมีความปลอดภัยของข้อมูลสูง ที่สำคัญเป็นเทคโนโลยีที่สามารถบริหารจัดการการใช้ความถี่วิทยุได้ มีประสิทธิภาพมากขึ้น นอกจากนี้การพัฒนาไปสู่ระบบดิจิทัลยังสามารถรวมเอาคุณสมบัติการสื่อสา รทั้งแบบ TRUNKED RADIO และ CONVENTIONAL LAND MOBILE เข้าด้วยกันได้ โดยเรียกว่าระบบ DIGITAL TRUNKED RADIO วิทยุคมนาคมระบบ ทรั้งค์ ในประเทศไทยใช้สำหรับติดต่อภายในกลุ่มองค์กรใหญ่หรือหน่วยงานราชการ ปัจจุบันได้มีการพัฒนาเทคโนโลยีให้เป็นระบบดิจิตอลแล้ว ก็ได้มีการพัฒนา ความสามารถของระบบให้หลากหลายยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นความสามารถที่ลูกข่ายสามารถติดต่อกันเองได้โดยไม่ต้องผ่าน การควบคุม และจัดการโดยสถานีแม่ข่าย หรือแม้แต่การเพิ่มความสามารถในการรองรับ-ส่งภาพเคลื่อนไหวแบบ Multi media ได้ รวมถึงการเชื่อมต่อ อินเทอร์เน็ต ได้ ทั้งนี้เทคโนโลยีต่างๆ ได้มีการพัฒนาที่แตกต่างกันไปในทางเทคนิค แต่ยังคงมีเป้าหมายของการพัฒนาที่เป็นไปในแนวทางเดียวกัน นั่นคือระบบโทรคมนาคมที่ตอบสนองความต้องการของมนุษย์ได้มากที่สุด
เว็บไซด์ ผู้จัดการออนไลน์ วันที่ 17 ตุลาคม 2560 โดย ปรเมศวร์ กุมารบุญ
สนใจติดต่อ บริการ: 0979474664
ติดต่อฝ่ายขาย: 0889910232
Facebook: www.facebook.com/Pikulservice-1996115747299018/
Line@ PikulRadio Email: P@เช่าวิทยุสื่อสารระยอง.com